|
|
|
|
|
|
ประชาชนในตำบลแม่ยางร้อง ร้อยละ 80 ส่วนใหญ่
อาชีพหลัก คือ ปลูกข้าว ทำไร่ ถั่วเหลือง ข้าวโพด พริก
อ้อย ปลูกยาสูบ และอาชีพเสริม ทำสวนลำไย มะม่วง ยางพารา และการเลี้ยงสัตว์จำพวกโค |
|
อีกร้อยละ 20 เป็นอาชีพสาขาอื่น ๆ เช่น ข้าราชการ ลูกจ้างในส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ เป็นต้น รวมทั้งมีการอพยพแรงงามไปรับจ้าง เป็นช่างฝีมือต่าง ๆ โดยเฉพาะงานก่อสร้างในต่างจังหวัด |
|
|
|
|
|
ตำบลแม่ยางร้อง ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ป่าละเมาะหรือป่าแพะ มีต้นไม้ขนาดเล็กปกคลุมอยู่มาก เป็นที่ราบถึงลาดชันเล็กน้อย
มีเนินเขาซึ่งเป็นพื้นที่ต่อเนื่องจากบริเวณภูเขาสูง ที่อยู่ด้านทิศเหนือและทิศตะวันออกของพื้ที่ตำบล โดยมีความลาดเท
ไปทางทิศใต้ของพื้นที่ มีลำห้วยไฟลผ่านหลายสาย บริเวณที่เป็นที่ราบใช้เป็นพื้นที่ในการทำเกษตรกรรมและ
เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย |
|
|
|
|
|
|
|
ภูมิอากาศ แบ่งออกเป็น 3 ฤดู |
|
ฤดูร้อน |
ช่วงประมาณเดือนมีนาคม ถึง เมษายน |
|
ฤดูฝน |
ประมาณปลายเดือนพฤษภาคม ถึง ตุลาคม |
|
ฤดูหนาว |
เดือนพฤศจิกายน ถึง เดือนกุมภาพันธ์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ประชากรส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ โดยมีการนับถือศาสนาอื่นบ้างเล็กน้อย ได้แก่ ศาสนาคริสต์ |
|
ศาสนสถาน |
จำนวน |
5 |
แห่ง |
|
|
วัดบุญภาค |
|
วัดแม่ยางยวง |
|
วัดสันกลาง |
|
วัดดอนชุม |
|
สำนักสงฆ์บ้านคริสต์ |
|
|
|
|
ขนบธรรมเนียม
ประเพณี และวัฒนธรรม |
|
|
 |
|
|
|
ประเพณีดั้งเดิม |
|
ประเพณีการแต่งงาน |
|
ประเพณีการบวชนาค (ชาวแพร่นิยมเรียกว่า "ปอย") |
ประเพณีที่แตกต่างจากภาคอื่น ๆ |
|
ประเพณีไหว้ผีปู่ย่า |
|
ประเพณีเลี้ยงผู้เจ้าบ้าน |
|
|
|
|
ประเพณีขึ้นต้าวทั้งสี่ |
|
ประเพณีเอาขวัญ (เรียกว่าขวัญหรือบายสีสู่ขวัญ ) |
|
|
ประเพณีสงเคราะห์ |
|
ประเพณีสืบชะตา |
|
ประเพณีที่เกี่ยวกับศาสนา |
|
|
ประเพณีแห่ครัวตานเข้าวัด |
|
ประเพณีตานก๋วยสลาก |
|
|
ประเพณีตานขันข้าว |
|
ประเพณีเทศน์มหาชาติ |
|
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประชาชนได้อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ วิธีการทำเครื่องจักสานใช้สำหรับในครัวเรือน เช่น กล่องใส่ข้าว หรือแอ๊บข้าว ด้งใส่ข้าว เป็นต้น
ภาษาที่ใช้ เป็นภาษาเมืองเป็นหลัก |
|
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก ส่วนใหญ่จะเป็นผลิตภัณฑ์ผ้าด้นมือ ได้แก่ พวงกุญแจผ้าด้นมือ กระเป๋าผ้า และผลิตภัณฑ์จากเครื่องจักสานไม้ไผ่ ผลิตภัณฑ์พรมเช็ดเท้า ผลิตภัณฑ์จากเส้นเชือกพลาสติก เป็นต้น |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
โรงเรียนประถมศึกษาของรัฐบาล |
จำนวน |
3 |
แห่ง |
|
|
โรงเรียนบ้านแม่ยางร้อง |
|
|
โรงเรียนแม่ยางยวง |
|
|
โรงเรียนบ้านดอนชุม |
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลแม่ยางร้อง |
|
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
(กศน.) ตำบลแม่ยางร้อง |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ประชาชนส่วนใหญ่ได้รับการดูแลสุขภาพอนามัยจาก อสม.ประจำหมู่บ้าน |
|
สถานพยาบาลของรัฐ |
จำนวน |
2 |
แห่ง |
|
|
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่ยางร้อง |
|
|
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่ยางยวง |
|
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 |
|
|
|
|
|
องค์การบริหารส่วตำบลแม่ยางร้อง มีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 103 ร้องกวาง-งาว ผ่าน เส้นทางที่ใช้ในการติดต่อต่างอำเภอและจังหวัดใกล้เคียง
เช่น จังหวัดลำปาง จังหวัดพะเยา จังหวัดเชียงรายได้ ส่วนถนนภายในตำบลส่วนใหญ่จะเป็นถนนลาดยาง
แอสฟัสติกท์ และถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ที่เหลือจะเป็นถนนลูกรังภายในหมู่บ้านและ
ถนนลูกรังเข้าพื้นที่ทำการเกษตรกรรม |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
แหล่งน้ำธรรมชาติ |
|
ลำห้วย |
จำนวน |
7 |
สาย |
|
|
ลำห้วยแม่ยางน้อย |
|
ลำห้วยร่องจ้อย |
|
ลำห้วยต้นยาง |
|
ลำห้วยจำหวาย |
|
ลำห้วยห้วยทราย |
|
ลำห้วยขุมคำ |
|
ลำห้วยห้วยโทกค่า |
|
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น |
|
|
|
|
|
|
|